วันจันทร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2555

Syllable Stress

การออกเสียงเน้นหนักเบาพยางค์ในคำ 

คือ คำที่มีสองพยางค์ขึ้นไป
เสียงเน้นหนักสุด เรียกว่า primary stress 
เสียงที่รองลงมาจะเป็น secondary stress ดังตัวอย่างต่อไปนี้
teacher possible criticism
answer telephone specialist
program animal secretary
orange innocent
subject beautiful

คำที่มีเสียงเน้นหนักสุดหรือ primary stress ดังตัวอย่างต่อไปนี้
cashier professor affirmative
hello relation philosopher
prefer important development
correct eleven significant
resign phonetic






กฏเกณฑ์การเน้นเสียงหนักเบาพยางค์ในคำภาษาอังกฤษ

1. คำสองพยางค์ที่มีความหมาย เป็นได้ทั้งคำนามและคำกริยา 

1.1. ถ้าเป็นคำนาม ให้ลงเสียงหนักที่พยางค์แรก เช่น abstract, contest, record, desert, progress, exploit, conduct, increase

1.2. ถ้าเป็นคำกริยา ให้ลงเสียงหนักที่พยางค์หลัง เช่น abstract, contest, record, desert, progress, exploit, conduct, increase

2. การลงเสียงหนักในคำนามประสม (compound noun)
2.1. คำนามประสมที่เกิดจากการประสมคำนามกับคำนาม เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่สุดที่ส่วนแรกหรือคำนามแรก เช่น teapot, drugstore, football, bus station, housewife, earthquake, birthday cake

2.2. คำนามประสมที่เกิดจากการประสมคำคุณศัพท์กับคำนาม เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่สุดที่คำแรกที่เป็นคำคุณศัพท์ เช่น blackbird, hotdog, high school, dining room

2.3. คำนามประสมระหว่างคำกริยา (ส่วนใหญ่อยู่ในรูปเติม ing) กับคำนาม เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่สุดที่คำแรก เช่น walking stick, living room, writing pad

3. การลงเสียงหนักในคำกริยาประสม
3.1. คำกริยาประสมระหว่างคำบุพบทกับคำกริยา เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่คำหลัง เช่น undertake, overrate, overcome, undertake
3.2. คำกริยาประสมที่เกิดจากคำกริยากับบุพบท (two-word-verbs) จะออกเสียงเน้นหนักที่คำหลังที่คำบุพบทหรือคำคุณศัพท์ เช่น call up, take off, give up, get on, put on, take over, watch out, pick up, look after
3.3. คำกริยาประสมประเภทคำกริยาสามคำ (three-word-verbs) เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่ส่วนประกอบส่วนที่สอง เช่น get rid of, catch up with, get along with, take care of

4. การลงเสียงหนักในคำคุณศัพท์ประสม
4.1. คำคุณศัพท์ประสมระหว่างคำคุณศัพท์กับคำคุณศัพท์ เวลาออกเสียงจะเน้นเสียงหนักที่คำคุณศัพท์คำแรก เช่น cold-blooded, bad-tempered
4.2. คำคุณศัพท์ประสมระหว่างคำนามกับคำคุณศัพท์ เวลาออกเสียงจะเน้นเสียงหนักที่คำนาม เช่น peach-colored

5. คำที่ลงท้ายด้วย suffix ต่อไปนี้ –tion, -sion, -ic, -ian, -tor, -ious, -ity, -ify, -itive, -ish จะเน้นหนักที่พยางค์หน้า suffix นั้น
(* ถ้าลงท้ายด้วย -tor จะต้องไม่เกิน 3 พยางค์)

-tion / -sion   
donation information discussion invention occasion 
-ic
public hydroponic terrific
-ian
librarian comedian historian historian
-tor
sector director narator
(ยกเว้นบางคำ เช่น curator เน้นที่ cu)

-ious 
pretigious  tedious
-ity
obesity university possibility
-ify
classify identify clarify beautify
-itive
inititive competitive primitive
-ish 
establish  accomplish  diminish

7. คำที่เติม prefix หน้าคำ และเติม suffix ท้ายำ เวลาออกเสียงจะเน้นเสียงหนักที่พยางค์เดิมของคาที่ยังไม่ได้เติม prefix หรือ suffix นั้น

Prefix เช่น return unimportant impossible inside
Suffix เช่น cleverness abandonment wonderful quickly wisdom

8. คำที่มีตั้งแต่ 3 พยางค์ขึ้นไป ถ้าพยางค์ท้ายลงท้ายด้วย –al, -ate, -ble, -lly, -lar, -ment, y เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่พยางค์ที่สามนับจากพยางค์ท้าย
-al /-ate /-ble /-lly
original appreciate possible actually
practical associate suitable naturally
-lar /-ment / -y
formular government photography
popular management momentary

9. คำที่ลงท้ายด้วย –self หรือ –selves (reflexive pronouns) เวลาออกเสียงจะลงเสียงเน้นหนักที่ส่วนหลัง คือ –self หรือ –selves เช่น myself, yourself, himself, ourselves

10. คำที่ลงท้ายด้วย –teen จะลงเสียงหนักที่ส่วนหลังคือคำว่า –teen แต่ตรงข้ามกับคำว่า –ty จะลงเสียงหนักที่ส่วนหน้า เช่น sixteen, seventeen, eighteen, sixty, seventy, eighty

11. คำคุณศัพท์ที่มีสองพยางค์มักลงเสียงหนักที่พยางค์แรกของคำ เช่น grateful, handsome, active

Chai Noi Chanting



บทสวดพลจักรกัปปวัตนสูตร (บทสวดชัยน้อย นะโมเม)
นะโม เม พุทธะเตชัสสา ระตะนะตะยะธัมมิกา              เตชะประสิทธิ ปะสีเทวา นารายะปะระเมสุรา
สิทธิพรัหมา จะ อินทา จะ จะตุโลกา คัมภีรักขะกา        สะมุทา ภูตุงคังกา จะ สะพรัหมาชัยยะประสิทธิ ภะวันตุ เต
ชัยยะ ชัยยะ ธรณิ ธรณี อุทะธิ อุทะธี นะทิ นะที  
ชัยยะ ชัยยะ คะคนละตนละนิสัย นิรัยสัยเสนนะ เมรุราชชะพล นระชี
ชัยยะ ชัยยะ คัมภีระ โสมภี นาเคนทะนาคี ปิศาจจะ ภูตะกาลี
ชัยยะ ชัยยะ ทุนนิมิตตะโรคี ชัยยะ ชัยยะ สิงคี สุทา ทานะ มุขะชา
ชัยยะ ชัยยะ วะรุณณะ มุขะ สาตรา ชัยยะ ชัยยะ จัมปา ทินาคะ กุละ คัณโถ
ชัยยะ ชัยยะ คัชชะคนนะตุรง สุกะระภุชง สีหะ เพียคฑะ ทีปา
ชัยยะ ชัยยะ วะรุณณะ มุขะ ยาตรา ชิตะ ชิตะ เสนนารี ปุนะ สุทธิ นระดี
ชัยยะ ชัยยะ สุขา สุขา ชีวี ชัยยะ ชัยยะ ธระณีตะเลสะทาสุชัยยา
ชัยยะ ชัยยะ ธระณี สานติน สะทา        ชัยยะ ชัยยะ มังกะราช รัญญา ภะวัคเค
ชัยยะ ชัยยะ วะรุณณะ ยักเข     ชัยยะ ชัยยะ รักขะเส สุระภุชะเตชา
ชัยยะ ชัยยะ พรัหมเมนทะคะณา          ชัยยะ ชัยยะ ราชาธิราชสาชชัย
ชัยยะ ชัยยะ ปะฐะวิง สัพพัง     ชัยยะ ชัยยะ อะระหันตา ปัจเจกะพุทธะสาวัง ชัยยะ ชัยยะ มะเหสุโร หะโรหะรินเทวา      ชัยยะ ชัยยะ พรัหมา สุรักโข
ชัยยะ ชัยยะ นาโค วิรุฬหะโก วิรูปักโข จันทิมา ระวิ
อินโท จะ เวนะเตยโย จะ         กุเวโร วะรุโณปิ จะ
อัคคิ วาโย จะ ปาชุณโห กุมาโร ธะตะรัฏฏะโก
อัฏฐาระสะ มะหาเทวา สิทธิตาปะสะอาทะโย
อิสิโน สาวะกา สัพพา ชัยยะ ราโม ภะวันตุ เต
ชัยยะ ธัมโม จะ สังโฆ จะ ทะสะปาโล จะ ชัยยะกัง
เอเตนะ ชัยยะ เตเชนะ ชัยยะ โสตถี ภะวันตุเต
เอเตนะ พุทธะเตเชนะ   โหตุเต ชัยยะมังคะลัง



ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา พรัหมะคะนา มะเหสิโน
ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา อินทะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะตะทา เทวะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิมันเฑ ปะโมทิตา ชัยยะตะทา สุปัณณะคะนา มะเหสิโน 
ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา นาคะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิรีมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิมัณเฑ ปะโมทิตา       ชัยยะ ตะทา สะพรัหมะคะณา มะเหสิโน

ชะยันโต โพธิยา มูเล สักกะยานัง นันทิ วัฑฒะโน
เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมัง คะเล
อะปะรา ชิตะปัลลังเก    สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
สุกขะโน สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง
ปะทักขิณัง  มะโนกัมมัง ปะณีธี เต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภัณตัตเถ ปะทักขิเณ

เต อัตถะลัทธา สุขิตา วิรุฬหา พุทธะสาสะเน
อะโรคา สุขิตา โหถะ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ
สุณันตุ โภนโต เย เทวา อัสมิง ฐาเน อะธิคะตา
ฑีฆายุกา สะทา โหนตุ สุขิตา โหนตุ สัพพะทา
รักขันตุ สัพพะสัตตานัง รักขันตุ ชินะสาสะนัง
ยา กาจิ ปัตถะนา เตสัง สัพเพ ปูเรนตุ มะโนระถา
ยุตตะกาเล ปะวัสสันตุ   วัสสัง วัสสา วะราหะกา
โรคา จุปัททะวา เตสัง นิวาเรนตุ จะ สัพพะทา
กายาสุขัง จิตติสุขัง อะระหันตุ ยะถาระหัง
   (อิติ จุลละชัยยะสิทธิมังคะลัง สมันตังฯ)