วันอังคารที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2558

935-168 ภาษาเยอรมัน 2

พื้นฐานภาษาเยอรมัน
1. การแปลความหมายศัพท์จากเยอรมัน เป็นไทย
2. กริยา sein (เป็น อยู่ คือ)


บทที่ 6

4. Himmelsrichtungen ทิศต่าง ๆ 

5. แบบฝึกจำเพศของคำนาม 

6. แบบฝึกเรื่องคำนามในรูปประธานและรูปกรรมตรง 

บทที่ 7
7. Modalverben คำกริยาช่วย 




จุ๊บ ๆ เรารักภาษาเยอรมัน

Modalverben

กริยาช่วยในภาษาเยอรมัน
   กริยาช่วยจะอยู่ในตำแหน่งที่ 2 ในประโยคบอกเล่าและคำถามประเภท W-Frage (Wer ใคร / Was อะไร / Wo ที่ไหน / Wann เมื่อไหร่ / Wie อย่างไร ) การเขียนประโยคที่มีกริยาช่วยให้ผันกริยาช่วยตามประธาน ส่วนกริยาแท้ที่แสดงความหมายไม่ต้องผัน และกริยาแท้จะอยู่ท้ายประโยค

1. ประโยคที่ไม่ยาว ไม่ขยายความหมายใด ๆ เลย
Ich kann machen.  ฉันสามารถทำได้ / ฉันทำได้
1       2          3
ประธาน ตามด้วยกริยาช่วยที่ผันตามประธาน แล้วก็กริยาแท้ไม่ผัน

2. ประโยคที่ขยายความหมายด้วยกริยาวิเศษณ์ต่าง(Adverb)

Ich gehe ins Kino.  ฉันไปโรงหนัง

ถ้าจะเขียนว่า ฉันสามารถไปโรงหนัง ต้องผันคำว่า สามารถ (können) ตามประธาน ich แล้วตามด้วยกริยาวิเศษณ์ คำว่า ไป (gehen) จะอยู่ท้ายสุดและไม่มีการผัน จะได้ว่า

Ich kann ins Kino gehen.  ฉันสามารถไปโรงหนัง 

ตัวอย่างประโยคที่ 2
Wir möchten nach Bangkok fahren. เราอยากขับรถไปกรุงเทพฯ




ตารางผันกริยาช่วย Konjugation der Modalverben 

\

จงผันกริยาช่วยตามประธานให้ถูกต้อง

1. _______ ich Ihnen helfen? ฉันช่วยอะไรคุณมั้ย
(können)

2. _______ du bitte langsam sprechen? เธอพูดให้ช้าลงได้มั้ย
(können)

3. _________ Sie ins Scwimmbad gehen? คุณอยากไปสระว่ายน้ำมั้ย
(wollen)


จงแต่งประโยคจากคำที่ให้โดยใช้กริยาช่วย
1. Sie / nicht / kommen  
(möchten)

2. Ich / das Frühstück / essen 
(wollen)

3. Er / gut Deutsch / sprechen
(können)

วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2558

Master's Degree in Teaching English as an International Language

หน้านี้ เป็นเสมือนตัวช่วยสำหรับพี่น้อง ผองเพื่่อน คนในวงการ ที่กำลังทำวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ หรือทำวิจัย ในด้านภาษาศาสตร์ประยุกต์ หรือการสอนภาษา




Advantages in Being a Teacher-researcher
1. Learn and practice new sets of skills: researching and writing for publication.
2. Your findings and perspectives become known to the wider ELT profession.
3. Readers may get in touch to find out more about your ideas.
Your researching circle widens.
4. This is your choice to get more income as you can get title of professorship.


The 4th reason is already enough, right?


1. สถิติที่ใช้ในงานวิจัยทางการศึกษา

2. การเขียนงานในรูปแบบ APA Style

3. ตัวอย่าง Powerpoint slides ที่ใช้สอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ หรือนำเสนอผลงานวิจัย

4. การทำ Back-translation ในการสร้าง questionnaire ที่เป็นไทย

5. ที่เรียนปริญญาโทและปริญญาเอกทางด้าน Applied Linguistics หรือ Second Language Studies หรือ Bilingualism หรือ TEFL/TEIL/TESOL

6. หนังสือเรียนในหลักสูตร ป. โท MA TEIL

7. List of Peer-reviewed journals on ELT and/or SLA