คือ คำที่มีสองพยางค์ขึ้นไป
เสียงเน้นหนักสุด เรียกว่า primary stress
เสียงที่รองลงมาจะเป็น secondary stress ดังตัวอย่างต่อไปนี้
เสียงที่รองลงมาจะเป็น secondary stress ดังตัวอย่างต่อไปนี้
teacher possible criticism
answer telephone specialist
program animal secretary
orange innocent
subject beautiful
คำที่มีเสียงเน้นหนักสุดหรือ primary stress ดังตัวอย่างต่อไปนี้
cashier professor affirmative
hello relation philosopher
prefer important development
correct eleven significant
resign phonetic
กฏเกณฑ์การเน้นเสียงหนักเบาพยางค์ในคำภาษาอังกฤษ
1. คำสองพยางค์ที่มีความหมาย เป็นได้ทั้งคำนามและคำกริยา
1.1. ถ้าเป็นคำนาม ให้ลงเสียงหนักที่พยางค์แรก เช่น abstract, contest, record, desert, progress, exploit, conduct, increase
1.2. ถ้าเป็นคำกริยา ให้ลงเสียงหนักที่พยางค์หลัง เช่น abstract, contest, record, desert, progress, exploit, conduct, increase
2. การลงเสียงหนักในคำนามประสม (compound noun)
2.1. คำนามประสมที่เกิดจากการประสมคำนามกับคำนาม เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่สุดที่ส่วนแรกหรือคำนามแรก เช่น teapot, drugstore, football, bus station, housewife, earthquake, birthday cake
2.2. คำนามประสมที่เกิดจากการประสมคำคุณศัพท์กับคำนาม เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่สุดที่คำแรกที่เป็นคำคุณศัพท์ เช่น blackbird, hotdog, high school, dining room
2.3. คำนามประสมระหว่างคำกริยา (ส่วนใหญ่อยู่ในรูปเติม ing) กับคำนาม เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่สุดที่คำแรก เช่น walking stick, living room, writing pad
3. การลงเสียงหนักในคำกริยาประสม
3.1. คำกริยาประสมระหว่างคำบุพบทกับคำกริยา เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่คำหลัง เช่น undertake, overrate, overcome, undertake
3.2. คำกริยาประสมที่เกิดจากคำกริยากับบุพบท (two-word-verbs) จะออกเสียงเน้นหนักที่คำหลังที่คำบุพบทหรือคำคุณศัพท์ เช่น call up, take off, give up, get on, put on, take over, watch out, pick up, look after
3.3. คำกริยาประสมประเภทคำกริยาสามคำ (three-word-verbs) เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่ส่วนประกอบส่วนที่สอง เช่น get rid of, catch up with, get along with, take care of
4. การลงเสียงหนักในคำคุณศัพท์ประสม
4.1. คำคุณศัพท์ประสมระหว่างคำคุณศัพท์กับคำคุณศัพท์ เวลาออกเสียงจะเน้นเสียงหนักที่คำคุณศัพท์คำแรก เช่น cold-blooded, bad-tempered
4.2. คำคุณศัพท์ประสมระหว่างคำนามกับคำคุณศัพท์ เวลาออกเสียงจะเน้นเสียงหนักที่คำนาม เช่น peach-colored
5. คำที่ลงท้ายด้วย suffix ต่อไปนี้ –tion, -sion, -ic, -ian, -tor, -ious, -ity, -ify, -itive, -ish จะเน้นหนักที่พยางค์หน้า suffix นั้น
(* ถ้าลงท้ายด้วย -tor จะต้องไม่เกิน 3 พยางค์)
-tion / -sion
donation information discussion invention occasion
-ic
public hydroponic terrific
-ian
librarian comedian historian historian
-tor
sector director narator
(ยกเว้นบางคำ เช่น curator เน้นที่ cu)
-ious
pretigious tedious
-ity
obesity university possibility
-ify
classify identify clarify beautify
-itive
inititive competitive primitive
-ish
establish accomplish diminish
7. คำที่เติม prefix หน้าคำ และเติม suffix ท้ายำ เวลาออกเสียงจะเน้นเสียงหนักที่พยางค์เดิมของคาที่ยังไม่ได้เติม prefix หรือ suffix นั้น
Prefix เช่น return unimportant impossible inside
Suffix เช่น cleverness abandonment wonderful quickly wisdom
8. คำที่มีตั้งแต่ 3 พยางค์ขึ้นไป ถ้าพยางค์ท้ายลงท้ายด้วย –al, -ate, -ble, -lly, -lar, -ment, y เวลาออกเสียงจะเน้นหนักที่พยางค์ที่สามนับจากพยางค์ท้าย
-al /-ate /-ble /-lly
original appreciate possible actually
practical associate suitable naturally
-lar /-ment / -y
formular government photography
popular management momentary
9. คำที่ลงท้ายด้วย –self หรือ –selves (reflexive pronouns) เวลาออกเสียงจะลงเสียงเน้นหนักที่ส่วนหลัง คือ –self หรือ –selves เช่น myself, yourself, himself, ourselves
10. คำที่ลงท้ายด้วย –teen จะลงเสียงหนักที่ส่วนหลังคือคำว่า –teen แต่ตรงข้ามกับคำว่า –ty จะลงเสียงหนักที่ส่วนหน้า เช่น sixteen, seventeen, eighteen, sixty, seventy, eighty
11. คำคุณศัพท์ที่มีสองพยางค์มักลงเสียงหนักที่พยางค์แรกของคำ เช่น grateful, handsome, active
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น